ฉีดโบท็อกซ์ลดกราม แต่แก้มตอบซะงั้น! ทำยังไงดี

กลายเป็นปัญหาใหญ่สำหรับหนุ่มๆสาวๆบางคนที่มีปัญหากรามใหญ่ และโหนกแก้มสูง
อยากจะฉีดโบท็อกซ์ลดกรามให้หน้าเรียวๆ แต่กลายเป็นแก้มตอบเฉยเพราะโหนกแก้มดันชัดขึ้นมาซะงั้น! หน้าก็ยิ่งโทรมไปกันใหญ่ แล้วอย่างนี้เป็นเพราะอะไร

จริงๆแล้วกล้ามเนื้อกรามเป็นรูปสี่เหลี่ยม ถ้าเราฉีดให้กรามยุบ แต่พอกรามเล็กลงไปมากๆ แล้วพอมีโหนกที่ใหญ่ก็จะกลายเป็นว่าโหนกแก้มเด่นและแก้มตอบ ทำให้ดูแก่ขึ้น ดูโทรม เพราะฉะนั้นทางแก้ก็คือฉีดเฉพาะตรงมุมของกรามไปเลย แต่ว่าหน้าอาจจะไม่เรียวเท่าฉีดให้ยุบทั้งกล้ามเนื้อ แต่ปัญหาเรื่องหน้าตอบก็จะเกิดขึ้นน้อยลงค่ะ

หรืออีกทางแก้ที่คนนิยมทำกันก็คือยกกระชับด้วยเทคโนโลยีใหม่ HIFU เป็นอีกตัวช่วยหนึ่งที่จะทำให้หน้าเรียวแบบลงตัวที่คนส่วนใหญ่นิยมทำควบคู่กับการฉีด Botox จะได้ทั้งกรามที่เล็กลง และใบหน้าที่กระชับได้สัดส่วนมากขึ้นอีกด้วย !

สามารถแอดไลน์เพื่อปรึกษาหรือสอบถามโปรโมชั่นพิเศษของทางคลินิก ฟรี เพียง Click ที่ลิ้งค์:

Related Articles

เทรนด์การฉีดโบท็อก แบบไหนที่นิยมในหมู่ Celeb

ดารา Hollywood เริ่มฉีด เบบี้โบท็อก (Baby Botox) จนเป็นเทรนด์ฮอตฮิตอยู่ตอนนี้ ดาราสาวหลายคนกล่าวว่า รู้สึกว่าการฉีดเทคนิคเบบี้โบท็อก (Baby Botox) เป็นวิธีที่ทำให้มีความอ่อนเยาว์หน้าดูเด็กที่สุดทำให้ดูสวยอย่างเป็นธรรมชาติ Table of Contents เบบี้โบท็อก (Baby Botox) คืออะไร เบบี้โบท็อก (Baby Botox) คือ เทคนิคการฉีดโบท็อก (Botox) แบบใหม่ล่าสุดที่ฮิตมากในหมู่เซเลปคนดังฮอลลีวูดถือเป็นเทคนิคการฉีดโบท็อก (Botox) เพื่อเน้นลดริ้วรอย เช่น รอยย่นบนบริเวณหน้าผาก รอยขมวดคิ้ว และรอยตีนกา แต่ใบหน้ายังเคลื่อนไหวได้อย่างเป็นธรรมชาติ การฉีดโบท็อก (Botox) ในบริเวณรอยลึก สำหรับการฉีดโบท็อก (Botox) ลดริ้วรอยจะเห็นผลชัดเจนในการแก้ปัญหาริ้วรอยตื้นๆ หรือริ้วรอยที่เกิดจากการแสดงสีหน้า เช่น การขมวดคิ้ว การเลิกคิ้ว ริ้วรอยตีนกา การยิ้ม ริ้วรอยร่องแก้ม เป็นต้น แต่ถ้าหากเป็นปัญหาริ้วรอยร่องลึกที่เกิดจากปัญหากระดูกทรุดตัว อาจจะต้องแก้ไขโดยการฉีดฟิลเลอร์หนุนในชั้นผิว เพราะสารเติมเต็มในฟิลเลอร์สามารถแก้ปัญหาริ้วรอยร่องลึกได้มากกว่าการฉีดโบท็อก (Botox) ลดริ้วรอยค่ะ 3 เทคนิคฉีดโบท็อก (Botox)

อยากฉีดโบท็อก (Botox) แต่กลัวเข็ม กลัวเจ็บ ทำอย่างไรดี

ก่อนทำหัตถการทุกครั้ง หมอจะทำการแปะยาชาหรือใช้น้ำแข็งช่วยประคบเย็นก่อนทำการฉีดทุกครั้ง รวมถึงเข็มที่ลินนาคลินิกเลือกใช้จะมีขนาดที่เล็กเป็นพิเศษ จึงทำให้ไม่รู้สึกเจ็บเท่ากับเข็มที่มีขนาดทั่วไปค่ะ หากใครที่มีความกลัวเข็มมากเป็นพิเศษก็สามารถขอทำการแปะยาชาก่อนได้เช่นกันโดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม  และเราเองมีการใช้ตัว Face Vibration เพื่อช่วยในการเบนความสนใจได้ด้วยเช่นกัน และยังมีตัวช่วยอื่นๆที่หมอสรุปไว้ให้ด้านล่างนี้ด้วยเช่นกันค่ะ นอกจากนั้นทางหากท่านใดมีความกังวลหรือไม่สบายใจตรงจุดไหนสามารถเข้ามาพูดคุยสอบถามรายละเอียดขั้นตอนการรักษากับหมอได้ที่ลินนาคลินิก (LINNA Clinic) ก่อนได้เลยนะคะ Table of Contents คนกลัวเข็มจัดการกับการกลัวอย่างไรดี การแก้ไขอาการกลัวเหล่านี้สามารถทำได้ง่าย ๆ โดยเริ่มที่ตัวเราเองได้เลยค่ะ มีวิธีการดังนี้ ปรับทัศนคติของตัวเองใหม่ การจัดลำดับความคิดของตัวเองให้ได้เป็นสิ่งที่ต้องทำเป็นอย่างแรกเลยค่ะ ก่อนอื่นให้ปรับทัศนคติที่มีต่อสิ่งที่ตัวเองกลัว ยกตัวอย่าง เช่น การกลัวเข็ม โดยให้คิดว่าการเผชิญหน้าอย่างค่อยเป็นค่อยไปสามารถทำได้โดยค่อย ๆ เอาตัวเองไปอยู่กับสิ่งๆนั้นให้มากขึ้นไม่ต้องทำในทันทีทันใดนะคะ ให้ค่อย ๆ ทำ เช่น ไปอยู่กับเพื่อนที่ทำมาแล้วสวยเราก็จะเริ่มซึมซับและปรับทัศนคติให้กลัวน้อยลงและมีความกล้ามากขึ้นที่จะทำค่ะ ตั้งสมาธิและผ่อนคลาย คนที่ไม่กล้า ผ่า ฉีดยา การตั้งสมาธิช่วยทำให้เราใจเย็นลงได้ แต่มันทำได้มากกว่านั้นค่ะ โดยการตั้งสมาธิกำหนดลมหายใจ เข้า-ออกจะช่วยให้จิตใจของเรานิ่งมากขึ้นค่ะ โดยคนเป็นโรคนี้ถ้าหากฝึกไปเรื่อย ๆ ยิ่งฝึกมากเท่าไหร่ก็จะสามารถ ควบคุมสติและควบคุมอารมณ์ของตัวเองได้มากขึ้นค่ะ การเบี่ยงเบนความสนใจ หากกลัวว่าตัวเองจะทำไม่ได้ให้พยายามคิดถึงสิ่งอื่นแทนค่ะโดยก่อนทำอาจจะแจ้งหมอของเราว่าให้ช่วยพูดเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ ในขณะที่ฉีดยาชา สมองจะได้คิดไปเรื่องอื่นไม่มาโฟกัสเรื่องนี้หรือขณะที่ทำให้ตัวเองหันหน้าไปมองทางอื่นเพื่อจะได้ไม่มองเห็นซึ่งเป็นวิธีที่ได้ผลมากเลยค่ะ ใช้ตัวยา Penthrox ช่วย

มีโรคประจำตัวอยู่ ฉีดโบท็อก (Botox) ได้ไหม

ก่อนอื่นหมอแนะนำผู้ที่จะเข้ามาทำการฉีดโบท็อก (Botox)  มาเช็คความพร้อมของสุขภาพกันเสียก่อน โดยจะต้องไม่อยู่ระหว่างตั้งครรภ์ และให้นมบุตรส่วนผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น คนที่มีโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ กล้ามเนื้ออ่อนแรง คนที่มีปัญหากล้ามเนื้อในการกลืน ควรหลีกเลี่ยง เพื่อความปลอดภัย และก่อนฉีดโบท็อก ไม่ควรปกปิดโรคประจำตัวกับแพทย์ผู้ให้การรักษาค่ะ Table of Contents ข้อควรพิจารณาก่อนการฉีดโบท็อก (Botox) สำหรับผู้ที่มีโรคประจำตัว เพื่อความปลอดภัย  ควรปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการก่อนตัดสินใจฉีดโบท็อก (Botox)  แพทย์จะทำการประเมินความเสี่ยงและความเหมาะสมของคุณโดยพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ เช่น ประเภทของโรคประจำตัว: บางโรคอาจส่งผลต่อการแข็งตัวของเลือด หรือระบบประสาท ซึ่งอาจเพิ่มความเสี่ยงจากการฉีดโบท็อก (Botox) ได้ ยาที่รับประทานอยู่: ซึ่งยาบางชนิดอาจมีปฏิกิริยาต่อกันกับโบท็อก (Botox) ประวัติการแพ้ยา: หากคุณเคยแพ้ยาใดๆ หรือมีประวัติการแพ้ทุกชนิดควรแจ้งแพทย์ให้ทราบทุกครั้งก่อนทำการฉีดโบท็อก (Botox) หมอแนะนำห้ามฉีดโบท็อก (Botox) เองโดยเด็ดขาดเนื่องจากโบท็อก (Botox) เป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูงหากใช้ไม่ถูกต้อง การฉีดผิดจุด หรือฉีดในปริมาณที่มากจนเกินไปอาจส่งผลเสียร้ายแรงได้ เช่น ใบหน้าเบี้ยว ตาตก ปากตกเป็นต้น ดังนั้น ควรปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการเสมอเพื่อความปลอดภัยค่ะ โรคประจำตัวใดห้ามฉีดโบท็อก (Botox) ผู้ป่วยโรคระบบกล้ามเนื้อ เช่น โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงเอแอลเอส

error: Content is protected !!
Scroll to Top